16/9/54

Border Trade


Counter Trade (การค้าต่างตอบแทน) คือ การที่ประเทศหนึ่งตกลงซื้อสินค้าจากอีกประเทศหนึ่ง เป็นการตอบแทนที่ประเทศนั้นซื้อสินค้าหรือบริการของตน แทนการชำระเงินทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน

Consumer durables (คงทนของผู้บริโภค)  คือ ในเศรษฐศาสตร์มีความทนทานดีหรือยากดีเป็นดีที่ไม่ได้สวมใส่ได้อย่างรวดเร็ว ออกหรือมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำให้สาธารณูปโภคในช่วงเวลาแทน ที่จะสมบูรณ์บริโภคในการใช้งาน รายการเช่นอิฐหรือเครื่องประดับที่อาจจะพิจารณาสินค้าคงทนที่ดีที่สุดเพราะ พวกเขาควรจะในทางทฤษฎีไม่เคยใส่ออก สินค้าคงทนสูงเช่นตู้เย็น , รถยนต์ , หรือโทรศัพท์มือถือมักจะดำเนินการต่อไปจะมีประโยชน์สำหรับสามปีหรือมากกว่าในการใช้งาน[ 1 ]ดังนั้นสินค้าคงทนมีลักษณะโดยทั่วไปเป็นระยะเวลานานระหว่างการสั่งซื้อต่อเนื่อง
     ตัวอย่างของสินค้าคงทนของผู้บริโภครวมถึงรถยนต์ของใช้ในครัวเรือน (เครื่องใช้ในบ้านอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภคเฟอร์นิเจอร์, ฯลฯ)อุปกรณ์กีฬาและของเล่น

Re-export หมายถึงของที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรแล้ว ต่อมาภายหลังผู้นำของเข้าได้ส่งของนั้นกลับออกไปยังต่างประเทศ โดยไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือลักษณะแต่ประการใด หรือของที่นำเข้ามาเพื่อเป็นของใช้สิ้นเปลืองสำหรับยานพาหนะที่เดินทางไป ต่างประเทศแล้วจะขอคืนอากรที่ได้ชำระไปกลับคืน

Import quota (การจำกัดสินค้าเข้า) เป็นการกำหนดโควต้าด้านปริมาณหรือมูลค่าของสินค้าที่จะนำเข้าจากต่างประเทศ

Consumer goods (สินค้าเพื่อการบริโภค)  คือ สินค้าหรือบริการที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่อการอุปโภคบริโภคเองในครอบครัว เพื่อตอบสนองความต้องการหรือสร้างความพึงพอใจแก่ตนเองหรือสมาชิกภายในครอบครัว แตกต่างจากสินค้าเพื่ออุตสาหกรรม (Industrial Goods) ที่ผู้ซื้อซื้อไป ใช้งานภายในองค์กร หรือซื้อไปใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ แล้วนำออกมาขายเพื่อแสวงหากำไร

Drawback คือ   ข้อเสียเปรียบในกฎหมายในการค้า , การ จ่ายเงินกลับหน้าที่จ่ายเงินก่อนหน้านี้ในการส่งออกที่ต้องเสียภาษีหรือบท ความเกี่ยวกับสินค้าจากต่างประเทศอีกครั้งการส่งออก วัตถุของข้อเสียเปรียบคือการปล่อยให้สินค้าที่อาจมีการจัดเก็บภาษีส่งออกและ จำหน่ายในต่างประเทศตามเงื่อนไขเช่นเดียวกับสินค้าจากประเทศที่พวกเขาจะไม่ ต้องเสียภาษี ซึ่งแตกต่างจากความโปรดปรานในการที่โปรดปรานจะช่วยให้สินค้าที่จะขายในต่าง ประเทศที่ต่ำกว่าราคาต้นทุนของพวกเขาก็อาจจะเกิดขึ้น แต่อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่างที่ทำให้เสียเปรียบมีผลเท่ากับว่าของโปรดปราน

Black market ตลาดมืด คือภาวะที่มีการซื้อขายสินค้าในราคาสูงกว่าที่รัฐกำหนดไว้ การกระทำดังกล่าวถือว่าผิดกฎหมายแม้ว่าตัวสินค้าจะถูกกฎหมายก็ตาม
ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดตลาดมืดก็คือ การที่รัฐตั้งเพดานราคาไว้นั่นเอง เนื่องจากเพดานราคาที่ต่ำกว่าราคาที่ควรจะเป็นซึ่งเป็นราคาที่ทำให้สินค้ามี อยู่ในตลาดพอดี ไม่ล้นหรือขาดตลาด ซึ่งเศรษฐศาสตร์เรียกราคานี้ว่าราคาดุลยภาพและการที่ราคาต่ำกว่าราคาที่ควรจะเป็นนี้ทำให้ปริมาณความต้องการซื้อหรืออุปสงค์มีมากกว่าปริมาณความต้องการขายหรือ อุปทานจึงเกิดภาวะสินค้าขาดตลาด และเนื่องจากสินค้ามีอยู่น้อยก็เลยทำให้ผู้ซื้อซึ่งต้องการสินค้านี้แย่งกัน ซื้อสินค้าจนยอมซื้อสินค้าที่ราคาสูงกว่าที่รัฐกำหนด

Agribusiness ธุรกิจการเกษตร หมายถึง การดำเนินกิจกรรมทั้งหลายนับตั้งแต่การผลิตและจำหน่ายปัจจัยการผลิต การผลิตสินค้าเกษตรในระดับฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ ดังนั้น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรทุกประเภทถือว่าเป็นธุรกิจการเกษตรทั้งสิ้น

Embargo   การห้ามส่งสินค้าหมายถึง การห้ามไม่ให้ประเทศใดประเทศหนึ่งทำการติดต่อค้าขายโดยการส่งสินค้าไปขายหรือสั่งซื้อสินค้า โดยถือว่าประเทศนั้นเป็นศัตรูของตน คำสั่งห้ามค้านี้ส่วนใหญ่จะใช้ในภาวะของสงครามและการกระทำกับประเทศคู่สงคราม หรือบางครั้งก็อาจมีคำสั่งในช่วงภาวะปกติไม่ใช่สงคราม เป็นภาวะชั่วคราวของการกีดกันทาง การค้าเพื่อหวังผลกดดันทางการเมือง

Import licence ใบอนุญาตนำเข้าสินค้า เป็น เอกสารที่ออกโดยรัฐบาลแห่งชาติอนุญาตการนำเข้าสินค้าบางอย่างลงในอาณาเขตของ ตน ใบอนุญาตนำเข้าจะถือว่าเป็นอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีการค้าเมื่อนำมาใช้เป็นวิธี การเลือกปฏิบัติต่อสินค้าของประเทศอื่นเพื่อที่จะปกป้องอุตสาหกรรมภายใน ประเทศจากการแข่งขันต่างประเทศ ใบอนุญาตแต่ละระบุปริมาณการนำเข้าที่ได้รับอนุญาตและการอนุญาตให้ใช้ปริมาณ ทั้งหมดไม่ควรเกินโควตา

Foreign market value (FMV) มูลค่าตลาดต่างประเทศ

Gray market goods ตลาดสีเทา เป็นตลาดของผลิตภัณฑ์แท้ที่นำเข้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายและกติกา เพียงแต่ผู้นำเข้า(ตลอดจนผู้ส่งออกจากประเทศต้นทาง) นั้นมักจะไม่ใช่ผู้ที่บริษัทแม่ผู้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องการจะให้ดำเนินการ และบางกรณีเข้าข่ายละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า

Delivered at frontier หมายถึง ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้า ณ เขตแดนที่ได้ตกลงกันไว้ ยังไม่ผ่านเขตแดนอีกฝ่ายผู้ขายต้องผ่านพิธีการส่งออก แต่ไม่ต้องผ่านพิธีการขาเข้า ไม่ต้องขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ ความหมายคำว่า เขตแดน อาจจะใช้กับเขตแดนประเทศใดๆ ก็ได้รวมถึงประเทศผู้ส่งออก ดังนั้นชื่อสถานที่ดังกล่าวควรระบุให้ชัดเจนว่า ณ จุดใด สถานที่ใด

Foreign direct investment (FDI) การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หมายถึงเงินทุนไหลเข้าสุทธิจากการลงทุนที่จะได้รับความสนใจการจัดการที่ยั่งยืน (ร้อยละ 10 หรือมากกว่าของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง) ในการดำเนินงานขององค์กรในทางเศรษฐกิจอื่น ๆ กว่าที่ของผู้ลงทุน [ 1 ]มันเป็น ผลรวมของทุนการลงทุนใหม่ของรายได้ของเงินทุนระยะยาวอื่นและเงินทุนระยะสั้นตามที่แสดงในที่สมดุลของการชำระเงิน

Primary commodity สินค้าหลัก คือ สิ่งที่สามารถนำเสนอขายให้แก่ตลาดเพื่อให้เกิดความพอใจ ความต้องการเป็นของเจ้าของ เรียกให้มีการซื้อ การใช้  หรือการบริโภค  ซึ่งเป็นสิ่งที่ (อาจจะ) ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นของผู้ซื้อให้ได้รับความพอใจ

         

Containerization

Containerization

Bulk Cargo
คือ สินค้าทั่วไปที่ไม่สามารถจัดเก็บเป็นหีบห่อได้ ส ซึ่งประกอบด้วย สินค้าแห้ง (Dry Bulk) และสินค้าเหลว (Liquid Bulk)  สินค้าหีบห่อ หรือสินค้าเทกองหรือรวมกอง

Claused bill
 การเรียกเก็บเงิน  ใบตราส่งชนิดที่มีเงื่อนไข ซึ่งทางบริษัทเรือจะออกให้ตามคำบันทึกของกัปตันเรือ

Charter  
นาม กฎบัตร สัญญาเช่า ธรรมนูญ กฎหมาย ใบอนุญาตกรรมสิทธิ์

Broken Stowage
พื้นที่ๆสูญเสียไปจากการจัดเรียง การที่นำเชือกมายึด ไว้เพื่อไม่ให้สินค้าหล่น

ship broker 
ผู้แทนของบริษัทเดินเรือ; นายหน้าซื้อขายเรือ; ผู้ทำการประกันภัยทางทะเล

back freight 
การส่งคืนสินค้ากลับต้นทาง

Ship’s master 
ต้นแบบของเรือ

Partial shipment
  การจัดส่งสินค้าบางส่วน

Cargo carrier   
ผู้ให้บริการขนส่งสินค้า

Dangerous goods
 สินค้าอันตรา  วัตถุที่มีคุณสมบัติทางเคมี หรือกายภาพโดยตัวของมันเอง หรือเมื่อสัมผัสกับสารอื่นทำให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ สินทรัพย์

Demurrage 
 การจอดเรือเกินกำหนด เก็บค่าจอดเกินเวลา

 Less than container load(LCL)
      ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับหลายรายในตู้สินค้าเดียวกันซึ่งแต่ละรายจะมีสินค้าอยู่มากน้อยเท่าใดก็ได้ แต่สินค้าทั้งหมดจะถูกนำไปยังจุดหมายปลายทางเดียวกัน ความรับผิดชอบในการ บรรจุสินค้าในตู้สินค้าและ/ หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าในลักษณะนี้จะอยู่กับผู้รับการขนส่งซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นบริษัทเรือ บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CFS เพราะต้องมีการนำสินค้ามาผ่านโกดังจัดแยกชนิดสินค้าก่อนที่จะทำการบรรจุ ใส่ตู้สินค้าหรือ ส่งไปยังจุดหมายปลายทาง
FCL,Full Container Load 
         ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับเป็นเจ้าของรายเดียว อยู่ในตู้สินค้าเดียวกัน ส่วนมากความรับผิดชอบในการบรรจุสินค้าในตู้สินค้า และ/หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าจะอยู่กับผู้ส่งและ/หรือผู้รับนั้นๆ  บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้
CY เพราะสามารถรับและ/หรือส่งตู้ชนิดนี้ได้โดยไม่ต้องผ่านโกดัง

Bagged cargo
 สินค้าบรรจุถุง

Deck cargo    
สินค้าที่บรรทุกบนปากระวาง
ที่มา


7/9/54

คำศัพท์ที่ควรรู้


Financial Document  เอกสารทางการเงิน
1. Bill of exchange                          ตั๋วแลกเงิน
2.  Draft                                             ร่าง
3.  Cheque                                         เช็ค
4. Bill of Collection                         บิลจากคอนเลกชัน
5. Bonds                                            พันธบัตร
6.  Stock                                             สต็อก

                               Transport Document  เอกสารการขนส่ง
1. Bill of Lading                                ใบเบิก
2. Airway Bill                                    ใบ Airway Bill  หรือ ใบตราสินค้าทางอากาศ
3. Railway Bill                                  บิลรถไฟ
4. Roadway Bill                                บิลถนน
5. Certificate of Posting                   รับรองการโพสต
6.  CMR ย่อมาจาก Customer Relationship Management
 หรือเรียกว่าการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ซึ่งก็คือการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยการใช้เทคโนโลยีและการใช้บุคลากรอย่างมีหลักการ CRM ได้ถูกนำมาใช้มากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องมาจากจำนวนคู่แข่งของธุรกิจแต่ละประเภทเพิ่มขึ้นสูงมาก  การแข่งขันรุนแรงขึ้นในขณะที่จำนวนลูกค้ายังคงเท่าเดิม ธุรกิจจึงต้องพยายามสรรหาวิธีที่จะสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าอันจะนำไปสู่ความจงรักภักดีในที่สุด


                               Commercial Document  เอกสารพาณิชย์
                              
1. invoice                                                           ใบกำกับสินค้า
2. packing list                                                   รายการบรรจุ
3. weight list                                                     รายการน้ำหนัก
4. certificate of origin                                      หนังสือรับรองแหล่งกำเนิด
5. health certificate                                          ใบรับรองสุขภาพ
6. inspection certificate                                   การตรวจสอบใบรับรอง
7. insurance certificate                                    ใบรองการประกัน
8. phytosanitary certificate                             ใบรับรองสุขอนมัยพืช
9. fumigation certificate                                 ใบรับรองรมควัน
10. certificate of analysis                   ใบรับรองการวิเคราะห์
11. sanitary certificate                                     ใบรับรองสุขอนามัย
      หรือ certificate of sanitary                       หนังสือรับรองการสุขาภิบาล
12.  Entreport Certificates                              ใบรับรอง Entreport
13.  Shipping Line Certificates                      ใบรับรองสายการจัดส่งสินค้า
14.  Measurement Certificates                       ใบรับรองการวัด

แปล Google

6/9/54

ส่ง Bill of Lading

Bill of Lading
ใบตราส่งสินค้า
  • เป็นตราสารที่ผู้รับขนสินค้าออกให้แก่ผู้ส่งสินค้า เพื่อแสดงว่าได้มีการรับสินค้าเพื่อนำส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ผู้ส่งสินค้ากำหนด ใบตราส่งสินค้ามีหลายชนิด เช่น
  • ใบตราส่งสินค้าทางทะเลเรียกว่า Ocean Bill of Lading ซึ่งมีลักษณะปลีกย่อยดังนี้ ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า Multimodal Transport Document หรือ Combine Transportation Bill of Lading
  • ใช้ในการขนส่งที่ผู้รับสินค้าไม่ต้องนำต้นฉบับใบตราส่งไปขอรับสินค้า ซึ่งในทางปฏิบัติผู้รับสินค้าสามารถใช้สำเนาใบตราส่งไปขอรับใบสั่งปล่อยจากตัวแทนเรือได้ เรียกว่า Seaway Bill หรือ Express Bill ใบตราส่งประเภทนี้ผู้รับตราส่งจะต้องเป็นผู้นำเข้าโดยตรง และความรับผิดชอบของผู้รับขนส่งมีน้อยกว่าใบตราส่งประเภทอื่น
  • ใบตราส่งสินค้าทางอากาศเรียกว่า Air Way Bill
  • ใบตราส่งสินค้าทางรถไฟ เรียกว่า Railway Bill ใบตราส่งสินค้าที่สำคัญได้แก่

ใบตราส่งสินค้าทางเรือ (Bill of Lading)
ใบตราส่งสินค้าทางเรือเป็นเอกสารที่มีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ
  • เป็นใบรับสินค้าที่ออกให้โดยสายเดินเรือหรือตัวแทนสายเดินเรือ ที่มีรายละเอียดของสินค้าที่จะทำการขนส่ง
  • เป็นสัญญาการขนส่งระหว่างผู้ส่งสินค้ากับผู้รับขนส่งสินค้า ว่าผู้รับขนส่งจะส่งสินค้าไปยังเมืองท่าปลายทางและจะส่งมอบให้แก่ผู้รับที่ผู้ส่งสินค้าได้ระบุไว้
  • เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในสินค้าที่ขนส่งที่เปลี่ยนมือได้ (Negotiable) ของผู้ทรงสิทธิ์ ซึ่งผู้ทรงสิทธิ์จะใช้ในการขอรับสินค้าที่ท่าเรือปลายทาง หรือจะใช้ในการขายต่อสินค้าให้กับผู้รับซื้อช่วงในระหว่างการขนส่งก็ได้

ข้อความที่สำคัญในใบตราส่งสินค้าทางเรือมีดังนี้
1. ชื่อที่อยู่ของผู้ส่งสินค้า (Shipper)
 2. ชื่อที่อยู่ของผู้รับตราส่ง (Consignee)
3. ชื่อที่อยู่ของผู้รับสินค้า (Notify Party)
4. เลขที่ใบตราส่งสินค้า(Bill of lading No.)
5. ชื่อเรือสินค้าลำลูก (Precarriage)และเที่ยวเรือ
 6. ชื่อเรือสินค้าลำแม่ (Vessel)และเที่ยวเรือ
7. สถานที่รับสินค้าที่ต้นทาง (Place of Receipt)
8. เมืองท่าต้นทาง (Port of Loading)
9. เมืองท่าปลายทาง (Port of Discharge)
10. สถานที่รับสินค้าปลายทาง (Place of Delivery)
11. เครื่องหมายและเลขหมายหีบห่อ (Mark&No.)
12. จำนวนสินค้า (No.of Containers or Pkgs.)
13. ลักษณะหีบห่อ (Kind of Packages)
14. รายการสินค้า (Description of Goods)
15. น้ำหนักสินค้า (Gross weight)
16. ปริมาตรของสินค้า (Measurement)
17. หมายเลขคอนเทนเนอร์ (Container No.)
18. หมายเลขแถบประทับ (Seal No.)
19. ค่าระวางสินค้าและค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บ (Freight & Charge)
20. จำนวนของต้นฉบับ

 
  • ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ (Air Way Bill)
        ใบตราส่งสินค้าทางอากาศเป็นเพียงใบรับสินค้าและสัญญาการขนส่งเท่านั้น
ข้อความที่สำคัญในใบตราส่งสินค้าทางอากาศมีดังนี้

ภาพ:ใบตรา.GIF

 
  • ใบตราส่งสินค้าที่ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน
        ใบตราส่งสินค้าที่ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า Multimodal Transport Bill of Lading ใช้สำหรับการขนส่งที่รวมรูปแบบหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น ขนส่งโดยรถยนต์ไปต่อเรือเดินสมุทรแล้วไปต่อเครื่องบินอีกทอดหนึ่งเป็นต้น ใบตราส่งสินค้าแบบ Multimodal Transport Bill of Lading มีรายละเอียดเหมือนกันกับใบตราส่งสินค้าทางทะเลเกือบทั้งหมด
ข้อความที่สำคัญในใบตราส่งสินค้าแบบ Multimodal Transport Bill of Lading มีดังนี้

ภาพ:ขาย.GIF




INCOTERMS

FAS ( .... ระบุท่าต้นทาง)

ผู้ขายส่งสินค้าให้ถึงข้างลำเรือที่ท่า หากเรือทอดสมออยู่กลางทะเลก็ต้องลำเลียงโดยเรือเล็กไปจนถึงข้างเรือใหญ่ กรณีนี้ ผู้ขายต้องจัดการส่งออกให้เรียบร้อย กล่าวคือทั้งเสียอากรขาออกและขอใบอนุญาตส่งออก ฯลฯ ซึ่งต่างกับ Incoterms 1990 ฉบับเดิมอย่างพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ เพราะตามฉบับที่แล้ว ผู้ซื้อต้องจัดการทำพิธีการส่งออกเอาเอง


FOB ( .... ระบุท่าต้นทาง)

ผู้ขายส่งสินค้าให้ถึงบนเรือ และความเสี่ยงจะเปลี่ยนข้างจากผู้ขายไปตกอยู่กับผู้ซื้อตั้งแต่วินาทีที่สินค้าถูกยกข้ามพ้นกราบเรือ (ship's rail) ไปเหนือลำเรือแล้ว ภาระในการส่งออก (เช่น การขอใบอนุญาต การชำระค่าอากรขาออก ฯลฯ) เป็นของผู้ขายที่จะต้องจัดการให้เสร็จสิ้น Terms นี้ใช้สำหรับการส่งของทางเรือแบบดั้งเดิม (conventional) โดยการยกสินค้าขึ้นเรือ หรือที่เรียกกันว่า LO-LO (Lift on – Lift off)


CFR ( .... ระบุท่าปลายทาง)

เช่นเดียวกันกับ FOB ข้างบน หากแต่ว่าผู้ขายต้องชำระค่าระวางในการขนส่งทางเรือด้วย มีข้อที่น่าสังเกตคือ ถึงแม้ผู้ขายจะต้องรับภาระเรื่องค่าระวางถึงปลายทางก็ตาม แต่ความเสี่ยงของฝ่ายผู้ขายนี้จะอยู่แค่กราบเรือที่ต้นทาง เหมือนกับกรณีของ FOB เท่านั้นเอง ว่าอีกอย่างหนึ่ง Cost (ค่าใช้จ่าย) ของผู้ขายไปถึงท่าปลายทาง (เสียค่าระวาง) แต่ Risk (ความเสี่ยง) ของผู้ขายจะสิ้นสุดที่กราบเรือเท่านั้นเอง ถ้าเป็นการส่งสินค้าโดยมิได้มียกของข้ามกราบเรือ จะต้องใช้เงื่อนไข CPT ซึ่งจะกล่าวต่อไป

CIF ( .... ระบุท่าปลายทาง)


เช่นเดียวกับ CFR ทุกประการ เพียงแต่เพิ่มให้ผู้ขายต้องจัดการเอาประกันภัยให้กับสินค้าที่ขนส่ง ด้วยการชำระเบี้ยประกันจนถึงปลายทางด้วยเท่านั้น และต้องไม่ลืมว่าความเสี่ยงของผู้ขายจะมีถึงจุดเหนือกราบเรือ เช่นเดียวกับเงื่อนไข FOB หรือ CFR เท่านั้น เลยไปแล้วเป็นเรื่องของผู้ซื้อ



CPT ( .... ระบุท่าปลายทาง)

เป็น term ใหม่ ใช้มาตั้งแต่ Incoterms 1990 สำหรับการขนส่งทุกรูปแบบ รวมทั้ง multimodal transport ด้วย มีความหมายใกล้เคียงกันกับ CFR ซึ่งให้ใช้แต่เฉพาะการขนส่งทางเรือนั่นเอง แต่สำหรับเงื่อนไข CPT นี้ ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้าให้กับผู้รับขนส่ง (Carrier) ณ สถานที่รับของ ไม่ต้องส่งของขึ้นเรือ


อ้างอิง